วันจันทร์ที่ 5 กันยายน พ.ศ. 2559

นักเขียนการ์ตูน

นักเขียนการ์ตูน
            นักเขียนการ์ตูนอาจทำงานในสถานที่ทำงาน สำนักพิมพ์ หรือสตูดิโอ เพื่อสร้างสรรค์งานตามที่ผู้ว่าจ้างต้องการ ซึ่งต้องนำเสนอรูปแบบของงานต่างๆ มากกว่า 1 ชิ้นงาน แต่นักเขียนการ์ตูนที่มีชื่อเสียง หรือ รับจ้างงานในระบบอิสระ สามารถสร้างผลงานอยู่ที่บ้าน หรือตามสถานที่ต่างๆที่ใดก็ได้ ซึ่งแต่ละที่สามารถให้แรงบันดาลใจที่แตกต่างกันต อ่านเพิ่มเติม

นักชีววิทยา

นักชีววิทยา

ลักษณะทั่วไปของอาชีพ
- ที่ทำงานด้านชีววิทยา สัตววิทยา และงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกันในห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ หรือโดยการปฏิบัติงานในสนามแล้วนำสิ่งที่ค้นพบต่างๆ มาใช้สำหรับป้องกันโรค หรือบำรุงรักษา และส่งเสริมอนามัยให้แก่สุขภาพอนามัยแก่ชีวิตสัตว์และพืช รวมถึงกา อ่านเพิ่มเติม

โรคธาลัสซีเมีย

โรคธาลัสซีเมีย 

                  เป็นโรคที่มีความผิดปกติในการสร้างฮีโมโกลบิน ซึ่งเป็นส่วนประกอบในการสร้างเม็ดเลือดแดง ทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง จากการที่เม็ดเลือดแดงแตกง่ายกว่าปกติ โรคนี้เป็นได้ทั้งผู้หญิงและผู้ชาย พ่อและแม่จะเป็นผู้ถ่ายทอดยีนผิดปกตินี้ไปยังลูก พบผู้ป่วยเป็นโรคนี้ได้ทั่วโลก ในประเทศไทยมีผู้ป่วยโรคเลือดจางธาลัสซีเมีย ประมาณร้อยละ 1 ของประชากร และพบผู้ที่มียีนแฝง (พาหะ) ประมาณร้อยละ 40 ของประชากร อ่านเพิ่มเติม
 

โรคพันธุกรรม (โรคปอดฝุ่น)

โรคพันธุกรรม (โรคปอดฝุ่น)

โรคปอดฝุ่นหิน หรือ โรคซิลิโคสิส (silicosis) เป็นโรคที่เกิดขึ้นเนื่องจาก การสูดหายใจเอาฝุ่นทรายหรือฝุ่นหินต่างๆ ที่มีสาร ซิลิคอนไดออกไซด์
หรือเรียกว่าผลึกซิลิก้าเข้าไปในปอด ซึ่งส่วนมากจะพบในหินทราย โดยเฉพาะฝุ่นที่มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.05-5 ไมครอน ซึ่งสามารถเข้าไป 
อยู่ในถุงลมปอดได้ โดยจะถูกเม็ดเลือดขาวในปอดจับกิ อ่านาเพิ่มเติม

โรคหอบหืดจากการประกอบอาชีพ

เกิดจากการทำงานสัมผัสกับสารก่อโรคในที่ทำงาน ซึ่งอาจเป็นการสัมผัสสารกลุ่มน้ำหนักโมเลกุลต่ำ เช่น สารยึดติด สารเคลือบต่าง ๆ สารเคมีที่ใช้ในกระบวนการผลิตโพลิเมอร์ ผลิตอีพอกซีย์ และไอที่เกิดจาก การชุบเชื่อมโลหะต่าง ๆ การสัมผัสสารก่อโรค  ชนิดน้ำหนักโมเลกุลสูง  เป็นสารที่เกิดจากผลผลิตทางชีวภาพ ได้แก่ เชื้อรา แบคทีเรีย แมลง พืช ต่าง ๆ เช่น เครื่องเทศ กาแฟ ละหุ่ง  ถั่วเหลือง เกสรดอกไม้ แป้ง เป็นต้นอ่านเพิ่มเติม

โรคซิฟิลิส

โรคซิฟิลิส
            เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรียที่เรียกว่า Treponema pallidum เชื้อนี้สามารถเข้าสู่ร่างกายทางเยื่อเมือกเช่น ช่องคลอด ท่อปัสสาวะ ปาก เยื่อบุตา หรือทางผิวหนังที่มีแผล เมื่อเชื้อเข้าสู่ร่างกายจะเข้ากระแสเลือด และไปจับตามอวัยวะต่างๆทำให้เกิดโรคตามอวัยวะและทำให้เกิดโรคแทรกซ้อนในระยะยาว โรคนี้แบ่งออกเป็อ่านเพิ่มเติม


โรคจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช

ผลกระทบด้านสุขภาพจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืช
                ผลกระทบที่เป็นพิษเฉียบพลัน ผู้ป่วยจะมีอาการในทันทีหลังจากสัมผัสสารเคมี เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อ ท้องร่วง หายใจติดขัด ตาพร่า เป็นต้น
ผลกระทบที่เป็นพิษเรื้อรัง เกิดจากพิษสะสมที่ก่อให้เกิดโรคหรือปัญหาอื่นๆ เช่น มะเร็ง เบาหวาน อัมพฤกษ์ อัมพาต โรคผิวหนังต่างๆ การเป็นหมัน การพิการของทารกแรกเกิด หรือการเสื่อมสมรรถภาพทาง อ่านเพิ่มเติม


โรคดักแด้

โรคดักแด้
       โรค นี้แบ่งความรุนแรงได้หลายระดับ แต่ที่พบบ่อยที่สุดกลุ่มนี้จะถ่ายทอดทางกรรมพันทางยีน (gene)เด่นและยีนด้อย โดยปกติพบบ่อยในยีนเด่น คือถ้าหากพ่อหรือแม่เป็น ลูกก็จะมีโอกาสมีผิวแห้งสูงอาการจะปรากฏตั้งแต่ตอนเป็นทารกตั้งแต่3 เดือนขึ้นไป ผิวจะแห้งตามแขนขาทั้งสองข้างลักษณะคล้ายเกล็ดปลา และตามฝ่ามือฝ่าเท้าก็จะแห้งเห็นเป็นเส้นลายมือชัด อาการรุนแรง อ่านเพิ่มเติม

โรคทางพันธุกรรม

โรคทางพันธุกรรม หรือ โรคติดต่อทางพันธุกรรม เป็น โรคที่เกิดขึ้นโดยมีสาเหตุมาจากการถ่ายทอดพันธุกรรมของฝั่งพ่อและแม่ หากหน่วยพันธุกรรมของพ่อและแม่มีความผิดปกติแฝงอยู่ โดยความผิดปกติเหล่านี้เกิดขึ้นมาจากการผ่าเหล่าของหน่วยพันธุกรรมบรรพบุรุษ อ่านเพิ่มเติม



โรคเบาหวาน

โรคเบาหวาน
       
                  เป็นโรคเรื้อรัง และก่อให้เกิดปัญหาต่อสุขภาพ ก่อให้เกิดปัญหากับ ฟันและเหงือก ตา ไต หัวใจ หลอดเลือดแดง ท่านผู้อ่านสามารถป้องกันโรคแทรกซ้อนต่างๆได้ โดยการปรับ อาหาร การออกกำลังกาย และยาให้เหมาะสม ท่านผู้อ่านสามารถนำข้อเสนอแนะจากบทความนี้ อ่านเพิ่มเติม

โรคเลือดออกไหลไม่หยุด หรือโรคฮีโมฟีเลีย (Hemophilia)

โรคเลือดออกไหลไม่หยุด หรือโรคฮีโมฟีเลีย (Hemophilia)
                    ภาวะเลือดออกง่าย หรือเลือดออกแล้วหยุดยาก อาจมีสาเหตุจากความผิดปกติของหลอดเลือด เกล็ดเลือด (platelets) หรือระบบการแข็งตัวของเลือด (coaglulation system)ลักษณะของเลือดออกที่เกิดขึ้นตามผิวหนัง อาจเป็นจุดแดง ขนาด 1 มิลลิเมตร หรือเท่าปลายเข็มหมุด เรียกว่า เพติเคีย (petichiae)  อ่านเพิ่มเติม


สาเหตุของโรค Albinism หรือคนผิวเผือก


สาเหตุของโรค Albinism หรือคนผิวเผือก
เกิดจากข้อบกพร่องทางทางพันธุกรรม เนื่องจากความผิดปกติของยีน ที่ทำหน้าที่ควบคุม การสร้างเม็ดสีเมลานินในอวัยวะต่างๆ ทำให้ร่างกายไม่สามารถผลิตเม็ดสีเมลานินออกมาได้ คนที่เป็นโรคเผือกจึงมีผิวขาว ผมสีขาว ตาสีข  อ่านเพิ่มเติม